ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบภาคปฏิบัติ |
1.หลักการและเหตุผล
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549 กำหนดให้สถานประกอบกิจการจำนวน 14 ประเภทกิจการจะต้องให้มี “เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน” ในแต่ละระดับตามขนาดและประเภทกิจการ
ข้อ ๑๖ ให้นายจ้างในสถานประกอบกิจการตามข้อ ๑ (๑) ที่มีลูกจ้างตั้งแต่สองคนขึ้นไป และสถานประกอบกิจการตามข้อ ๑ (๒) ถึง (๕) ที่มีลูกจ้างตั้งแต่หนึ่งร้อยคนขึ้นไป แต่งตั้งลูกจ้างเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพซึ่งมีคุณสมบัติตามข้อ ๑๗ ประจำสถานประกอบกิจการอย่างน้อยหนึ่งคน เพื่อปฏิบัติงานเฉพาะด้านความปลอดภัย การแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพตามวรรคหนึ่ง ให้ดำเนินการภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่กฎกระทรวงนี้มีผลใช้บังคับ หรือภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่มีลูกจ้างตั้งแต่หนึ่งร้อยคนขึ้นไป แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๗ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพต้องมีคุณสมบัติเฉพาะอย่างใด
อย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้
(๑) สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับปริญญาตรีสาขาอาชีวอนามัย หรือเทียบเท่า
(๒) สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับปริญญาตรี และได้ทำงานเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิคขั้นสูงมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี และผ่านการอบรมและทดสอบตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีประกาศกำหนดจากหน่วยงานที่กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานรับรอง
(๓) เป็นหรือเคยเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพตามประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงานของลูกจ้าง ลงวันที่ ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ และผ่านการอบรมเพิ่มและทดสอบตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีประกาศกำหนดจากหน่วยงานที่กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานรับรองในหลักสูตรที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ตามข้อ ๑๘ (๓) (๔) และ (๘) ทั้งนี้ ภายในห้าปีนับแต่วันที่กฎกระทรวงนี้มีผลใช้บังคับ
จากกฎกระทรวงดังกล่าวทำให้ผู้ที่มีคุณสมบัติตามข้อ 17 (2) ต้องเข้ารับการอบรมเพื่อยกระดับและพัฒนาตัวเองให้เป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพ
2.วัตถุประสงค์
- เพื่อให้ผู้ที่มีคุณสมบัติตามข้อ 17 (2) ได้เข้ารับการอบรมและทดสอบเพื่อให้มีคุณสมบัติการเป็น จป.วิชาชีพตามข้อ 17
3.คุณสมบัติผู้เข้ารับการอบรม /กลุ่มเป้าหมาย
- สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับปริญญาตรี และ
- ได้ทำงานเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิคขั้นสูงมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี
4.วิทยากร
- ผู้ที่ได้ขึ้นทะเบียนกับสำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
5.ระยะเวลาอบรม
- 42 ชั่วโมง (ทดสอบภาคปฏิบัติ 1 วัน และทดสอบภาคทฤษฎี 1 วัน รวมทั้งหมด 9 วัน)
6.วิธีบรรยาย
- บรรยาย การฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องมือ
7.วิธีการประเมินผลและเกณฑ์การวัดผล
- ต้องมีเวลาเรียน 100 % ( 42 ชม)
- ประเมินความรู้ของผู้เข้ารับการอบรมฝึกอบรมก่อนและหลังการฝึกอบรม
- ผ่านการทดสอบภาคปฏิบัติจากสำนักความปลอดภภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
- ผ่านการทดสอบภาคทฤษฎีจากสำนักความปลอดภภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
8.สิ่งที่ได้รับหลังการอบรม
- วุฒิบัตรผ่านการอบรม
เอกสารหลักฐานสมัครอบรมประกอบด้วย | ||
ผู้เข้าอบรมต้องส่งใบสมัครพร้อมหลักฐานการสมัครอบรมทั้งหมดก่อนถึงวันอบรมล่วงหน้าอย่างน้อย 40-45 วัน ทั้งนี้สมาคมจะส่งให้กลุ่มงานทะเบียน กองความปลอดภัยแรงงานทำการตรวจสอบคุณสมบัติเพิ่มเติมก่อนการทดสอบภาคปฏิบัติ โดยจ่าหน้าซองลงทะเบียนถึง
|
10.หัวข้อบรรยาย
กำหนดการอบรมหลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพ | |
วันที่ 1 | |
08.30-08.45 | ลงทะเบียน |
08.45-09.00 | ทดสอบก่อนการอบรม |
09.00-12.15 | หมวดวิชาที่ 1 การจัดการความปลอดภัยในการทำงาน |
09.00-10.30 | - แนวคิดการจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัย |
10.45-12.15 | - การชี้บ่งอันตราย |
13.15-14.45 | - การประเมินความเสี่ยง และการจัดทำแผนงานจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัย |
15.00-16.30 | - การฝึกปฏิบัติการประเมินความเสี่ยงและการชี้บ่งอันตราย |
15.00-16.30 | - การตรวจสอบความปลอดภัยตามข้อกำหนดของกฎหมาย |
วันที่ 2 | |
08.30-09.00 | ลงทะเบียน |
หมวดวิชาที่ 1 การจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัย | |
09.00-16.30 | - การฝึกปฏิบัติการประเมินความเสี่ยงและการชี้บ่งอันตราย |
วันที่ 3 | |
08.30-09.00 | ลงทะเบียน |
หมวดวิชาที่ 2 การวิเคราะห์แผนงานและโครงการความปลอดภัย | |
09.00-16.30 | - หลักการจัดทำแผนงานโครงการความปลอดภัยและกิจกรรมความปลอดภัยในการทำงาน |
- การตรวจประเมินการปฏิบัติงานของสถานประกอบการ | |
- ฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์แผนงานโครงการความปลอดภัย | |
วันที่ 4 | |
08.30-09.00 | ลงทะเบียน |
หมวดวิชาที่ 3 การตรวจวัดและประเมินสภาพแวดล้อมในการทำงาน | |
09.00-12.00 | 3.1.หลักการประเมินสภาพแวดล้อมในการทำงาน |
- สิ่งแวดล้อมและสิ่งคุกคามสุขภาพอนามัย | |
- ขอบเขตการดำเนินงานและความสำคัญ | |
- การจัดทำโปรแกรมประเมินการสัมผัส | |
- กลวิธีในการประเมินการสัมผัสและการบริหารจัดการสิ่งคุกคาม | |
- ขั้นตอนการประเมินสภาพแวดล้อมในการทำงาน | |
- การจัดทำรายงาน | |
13.00.16.30 | 3.2 การตรวจวัดและประเมินระดับความร้อน |
-ความหมาย กลไกลการเกิดความร้อนภายในร่างกาย การสูญเสียความร้อนออกจากร่างกาย อันตรายจาก | |
ความร้อนและผลกระทบต่อสุขภาพ | |
-เครื่องมือและอุปกรณ์ในการตรวจสภาพความร้อน | |
-การตรวจวัดสภาพความร้อนและประเมินภาระงาน | |
- มาตรฐานความปลอดภัยในการทำงาน | |
-การควบคุมและการป้องกันอันตราย | |
วันที่ 5 | |
08.30-09.00 | ลงทะเบียน |
09.00-12.00 | 3.3 การตรวจวัดและประเมินการสัมผัสเสียง |
-ความหมาย ประเภทของเสียง กลไกลการได้ยิน และอันตรายจากเสียงดังและผลกระทบต่อสุขภาพ | |
-เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวัดเสียง | |
-ขั้นตอนและเทคนิคการตรวจวัด การคำนวณและการประเมินระดับเสียง | |
-มาตรฐานความปลอดภัยในการทำงาน | |
-การควบคุมอันตรายจากเสียง | |
-มาตรการอนุรักษ์การได้ยิน | |
13.00-16.30 | 3.4 การตรวจวัดและประเมินความเข้มของแสงสว่าง |
-ความหมาย แหล่งกำหนดของแสง กลไกลการมองเห็น อันตรายของแสงสว่างและผลกระทบต่อสุขภาพ | |
-เครื่องมือและอุปกรณ์ในการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง | |
-การตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง | |
-มาตรฐานความปลอดภัยในการทำงาน | |
-การควบคุมและป้องกันอันตราย | |
3.5 การจัดทำรายงานตรวจวัดและประเมินสภาพแวดล้อมในการทำงาน | |
วันที่ 6 | |
08.30-09.00 | ลงทะเบียน |
ฝึกภาคปฏิบัติ | |
09.00-16.30 | -การตรวจวัดและประเมินความเข้มของแสงสว่างและการฝึกปฏิบัติ |
-การตรวจวัดและประเมินระดับความร้อนและการฝึกปฏิบัติ | |
-การตรวจวัดและประเมินการสัมผัสเสียงและการฝึกปฏิบัติ | |
วันที่ 7 | |
08.30-09.00 | ลงทะเบียน |
09.00-16.30 | ฝึกภาคปฏิบัติ (ต่อ) |
-การตรวจวัดและประเมินความเข้มของแสงสว่างและการฝึกปฏิบัติ | |
-การตรวจวัดและประเมินระดับความร้อนและการฝึกปฏิบัติ | |
-การตรวจวัดและประเมินการสัมผัสเสียงและการฝึกปฏิบัติ | |
- ฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องมือตรวจวัดสภาพแวดล้อมในการทำงาน | |
วันที่ 8 | |
เจ้าหน้าที่ของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน | |
09.00-12.00 | ทดสอบภาคปฏิบัติ |
1.ทดสอบภาคปฏิบัติตรวจวัดและประเมินความเข้มของแสงสว่าง | |
2.ทดสอบภาคปฏิบัติตรวจวัดและประเมินระดับความร้อน | |
3.ทดสอบภาคปฏิบัติตรวจวัดและประเมินการสัมผัสเสียง | |
4.การเขียนรายงานการตรวจวัดและสภาพแวดล้อมในการทำงานและวิเคราะห์สภาวะการทำงาน |
รุ่นที่ |
เดือน |
วันที่1 |
วันที่2 |
วันที่3 |
วันที่4 |
วันที่5 |
วันที่6 |
วันที่7 |
วันที่ 8 |
สถานที่จัดอบรม |
1 |
กค |
20กค |
21กค |
22กค |
23กค |
27กค |
28กค |
29กค |
30กค |
สมาคมส่งเสริมฯ |
วิชาหมวด 1 |
วิชาหมวด 1 |
วิชาหมวด 2 |
วิชาหมวด 3 |
วิชาหมวด 3 |
วิชาหมวด 3 |
วิชาหมวด 3
|
สอบภาคปฏิบัติ โดยกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน |
|||
หมายเหตุ ทดสอบภาคทฤษฎีอีก 1 วันโดยกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจะแจ้งแผนการสอบให้ทราบภายหลัง |